ฟังธรรมะก่อนนอน (179) ได้บุญกุศล หลับสนิท ได้ข้อคิดดีๆ?
นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูเพิ่มเติม
ตอนที่ 179☘️ ธรรมะก่อนนอน ฟังก่อนนอน ได้บุญมาก ได้ข้อคิดดีๆ
เตือนสติ จิตใจสงบ ผ่อนคลาย ฟังแล้วสุขใจ 16/10 /2021 (149)
?โดเนทเพื่อเป็นกำลังใจในการทำคลิปได้ที่?
?ธนาคารไทยพานิช 1182132826 ชื่อบัญชี ชุติกาญจน์
ขออนุโมทนาบุญกุศลในครั้งนี้ สาธุ???
ให้ทุกท่านมีความสุข จิตสงบ ใจร่มเย็นเป็นสุข
\”ขออัญเชิญคุณพระรัตนตรัย อำนวยอวยชัยให้ทุกท่านมีความสุข
ความเจริญในหน้าที่การงาน และการดำรงชีวิต
อยู่ก็มีชัย ไปก็มีโชค โดยถ้วนหน้าทุกท่านทุกคน เทอญ\”
คลิปนี้จัดทำโดย ทีมงานช่อง \”คิดดีคิดเป็น\”
ฟังธรรมะก่อนนอน ฟังธรรมะ ปล่อยวาง
ธรรมะสอนใจ ธรรมะ ฟังธรรมะตอนเช้า
ฟังธรรมะปล่อยวาง ฟังธรรมะเตือนใจ
คิดดีคิดเป็น
ธรรมะสอนใจพูดให้คิด
นิทานธรรมะ โดยพระอาจารย์สมรัก ญาณธีโร
00:00:00 หมายน้ำบ่อหน้า
00:20:20 พยายมเข้าเถิดจะเกิดผล
00:34:44 นิทานธรรมะ เรื่อง เกือบเสียท่า,ตอบจดหมาย,สนทนาธรรม
01:11:20 นิทานธรรมะ เรื่อง วิธีเป็นเศรษฐี
01:26:24 นิทานธรรม เรื่อง คุณธรรมของเทวพา
01:49:45 นิทานธรรม เรื่อง อานุภาพแห่งความจริง
02:01:07 ช้าๆได้พร้าสองเล่มงาม
02:10:44 ผม
02:20:54 ความสุขอยู่ที่ไหน
02:27:09 นิทานธรรมะ เรื่อง คนฉลาด
02:41:53 คุณสมบัติของนักปกครอง
02:53:25 ตายเพราะผู้หญิง
02:59:15 รสอาหาร
03:03:13 หัวดื้อ
03:09:45 ผู้ว่านอนสอนง่าย
03:15:10 กำเนิดความหนาว
03:21:29 ฆ่าสัตว์เซนผี
03:29:00 ฆ่าสัตว์แก้บน
03:34:21 ทำไมไม้อ้อจึงทะลุกลางปล้อง
03:40:12 หมาป่าเจ้าปัญญา
03:49:00 สู้จนโลหิตหยาดสุดท้าย
03:59:50 สู้สู้จนตัวตาย
04:04:15 วิธีแก้ความรักเกียจ
04:08:39 วิธีแก้ความดุร้าย
04:14:30 วิธีแก้ความเศร้า
04:20:55 อันมนุษย์สุดดีที่ลมปาก
04:27:29 โคแสนรู้
04:34:03 อย่าเห็นแก่กินมากนัก
04:43:33 อานิสงส์ของศิล
04:50:46 หว้าเลิงลม
04:58:04 รวมกันก็อยู่ แยกก้นก็พัง
05:11:38 อำนาจเสน่ห์หา
05:17:25 อำนาจแห่งศีลและความสัตย์
05:27:32 โง่แล้วอย่าอวดฉลาด
05:31:29 สามสหาย
05:44:53 กลก่อกล
05:54:49 ขุมทรัพย์อยู่ที่ไหน
05:58:57 ใจมั่งคงเสียอย่าง
06:10:17 อิจฉาตารอน
06:16:50 นกพิราบกับกา
06:21:32 พ่อง
06:24:39 ยุงเป็นเหตุ
06:24:39 แมลงวันเป็นเหตุ
06:31:27 ลิงรถต้นไม่
06:38:15 คนขายเหล้า
06:46:28 มนต์เรียกแก้วเจ็ดประการ
07:02:04 ฤกษ์ผานาที
07:06:51 กุศโลบายของพระเจ้าพาราณสี
07:15:28 พระเจ้ามหาสีลวะ
ความพอดี @ หลวงปู่ชา สุภัทโท
รวบรวมวีดีโอในช่อง https://www.youtube.com/user/kancha085/videos เชิญติดตามธรรมะ
หลวงพ่อชา สุภัทโท วัดหนองป่าพง อุบลราชธานี การไม่กระทำบาปนั้นมันเลิศที่สุด บางคนบางคราว โจรมันก็ให้ได้ มันก็แจกได้ แต่ว่าจะพยายามสอนให้มันหยุดเป็นโจรนั้นน่ะ มันยากที่สุด การจะละความชั่วไม่กระทำผิดมันยาก การทำบุญ โจรมันก็ทำได้ มันเป็นปลายเหตุ การไม่กระทำบาปทั้งหลายทั้งปวงนั้นน่ะ เป็นต้นเหตุ\” ธรรมโอวาทจาก พระโพธิญาณเถร หรือ \”หลวงปู่ชา สุภัทโท\” แห่งวัดหนองป่าพง อ.วารินชำราบ จ.อุบลราชธานี พระวิปัสสนาจารย์สายอีสาน ที่ได้รับความเลื่อมใสศรัทธาจากสาธุชนเป็นอย่างมาก
ประวัติหลวงปู่ชา สุภัทโท วัดหนองป่าพง
อัตโนประวัติ หลวงปู่ชา สุภัทโท วัดหนองป่าพง พระโพธิญาณเถร (ชา สุภทฺโท) หรือ หลวงพ่อชา พระวิปัสสนาจารย์สายอีสาน นามเดิมว่า ชา ช่วงโชติ เกิดในสกุล ช่วงโชติ เมื่อวันที่ 17 มิถุนายน 2461 ตรงกับวันศุกร์ ขึ้น 7 ค่ำ เดือน 7 ปีมะเมีย ณ บ้านจิกก่อ หมู่ที่ 9 ต.ธาตุ อ.วารินชำราบ จ.อุบลราชธานี โยมบิดามารดา ชื่อ นายมาและนางพิมพ์ ช่วงโชติ ในช่วงวัยเยาว์ได้รับการศึกษาชั้นประถมศึกษา ณ โรงเรียนบ้านก่อ ต.ธาตุ อ.วารินชำราบ จ.อุบลราชธานี จนจบชั้นประถมปีที่ 1 แล้วได้ลาออกจากโรงเรียน มาช่วยงานครอบครัว ตามประวัติหลวงพ่อชา ท่านมีจิตฝักใฝ่ธรรมมาแต่เด็ก เมื่ออายุ 13 ปี โยมบิดาได้นำไปฝากกับเจ้าอาวาสวัดมณีวนาราม เพื่อเรียนรู้บุพกิจเบื้องต้นเกี่ยวกับบรรพชาวิธี ก่อนได้รับอนุญาตให้บรรพชาเป็นสามเณร เมื่อเดือนมีนาคม 2474 โดยมีพระครูวิจิตรธรรมภาณี (พวง) อดีตเจ้าอาวาสวัดมณีวนาราม จ.อุบลราชธานี เป็นพระอุปัชฌาย์ การที่ท่านบวชแต่เยาว์วัยยังผลให้ท่านมีโอกาสศึกษาเล่าเรียนทางโลกเพียงแค่ชั้นประถมปีที่ 1 อยู่จำพรรษาและศึกษาพระปริยัติธรรม ตลอดจนอยู่ปฏิบัติครูอาจารย์ เป็นเวลา 3 ปี ได้เอาใจใส่ต่อการท่องสวดมนต์ ทำวัตร ศึกษาหลักสูตรนักธรรมปฏิบัติพระเถระ แล้วจึงได้ลาสิกขาบทมาช่วยบิดามารดาทำไร่ทำนา ด้วยความจำเป็นของครอบครัวชาวไร่ชาวนาอีสาน แต่ด้วยจิตใจที่ใฝ่ในการ บวชเรียน จึงสำนึกอยู่ตลอดเวลาว่าจะต้องกลับมาอุปสมทบเป็นพระให้ได้ กระทั่งเมื่ออายุครบ 20 ปีบริบูรณ์ ได้เข้าพิธีอุปสมบท เมื่อวันที่ 26 เมษายน 2482 ณ พัทธสีมาวัดก่อใน ต.ธาตุ อ.วารินชำราบ จ.อุบลราชธานี โดยมีพระครูอินทรสารคุณ เป็นพระอุปัชาฌาย์, พระครูวิรุฬสุตการ เป็นพระกรรมวาจาจารย์ และพระอธิการสอน เป็นพระอนุสาวนาจารย์
หลังอุปสมบท หลวงพ่อชา ท่านได้มุ่งมั่นศึกษาพระปริยัติธรรม จนสามารถสอบได้นักธรรมชั้นตรี ต่อมาท่านต้องการเรียนให้สูงขึ้นเพราะมีจิตใจรักชอบทางธรรมอยู่แล้ว แต่ขาดครูอาจารย์ในการสอนระดับสูงต่อไป ท่านจึงทุ่มเทให้การศึกษาทั้งนักธรรมและบาลี และผ่านสำนักต่างๆ มากมายจนในที่สุด สามารถสอบนักธรรมได้ครบตามหลักสูตร คือ สอบนักธรรมชั้นโทได้ ในสำนักของพระครูอรรคธรรมวิจารณ์ สอบนักธรรมชั้นเอก ได้ในสำนักวัดบ้านก่อนอก ครั้นเสร็จภารกิจการศึกษา ท่านได้หันมาสู่การปฏิบัติธรรม โดยออกธุดงค์และศึกษาหาแนวทางปฏิบัติในสำนักต่างๆ ผ่านพระอาจารย์มากมาย อาทิ หลวงปู่กินรี หลวงปู่เถระชาวเขมร พระอาจารย์คำดี พระอาจารย์มั่น รวมทั้งออกธุดงค์ปฏิบัติธรรมตามป่าเขาลำเนาไพร เพื่อแสวงหาความหลุดพ้นตามรอบพระตถาคต
ในที่สุด หลวงปู่ชา ท่านได้รับอาราธนาจากโยมมารดาและพี่ชาย ให้กลับไปโปรดที่บ้านเกิด เมื่อปี พ.ศ.2497 หลวงปู่ชาได้ดำเนินการสร้างวัดหนองป่าพง และดำรงตำแหน่งเจ้าอาวาสวัดนี้มาโดยตลอด หลวงปู่ชา ได้อุทิศชีวิตเพื่อการปฏิบัติธรรมและเผยแพร่พุทธศาสนา ทั้งแก่ชาวไทยและชาวต่างประเทศ ซึ่งบังเกิดผลทำให้ผลงานที่เป็นประโยชน์อเนกอนันต์แก่พระศาสนา ทั้งที่เป็นพระธรรมเทศนา และสำนักปฏิบัติธรรมในนามวัดสาขาวัดหนองป่าพงมากมาย ทั้งในทวีปยุโรปและอเมริกา ในระยะแรกของการมาอยู่ป่าพงค่อนข้างลำบาก ชาวบ้าน ญาติโยมผู้ศรัทธาเข้ามาสร้างวัดเป็นกระท่อมเล็ก ๆ ให้ได้อาศัย ไข้ป่าชุกชุม เพราะเป็นป่าทึบ เมื่อเจ็บป่วยยารักษาก็หายาก โยมอุปัฏฐากยังน้อย อาหารการกินฝืดเคือง แต่กระนั้นหลวงพ่อก็ไม่เคยออกปากของญาติโยม แม้จะเลียบเคียงก็ยังไม่ยอมทำ ปล่อยให้ผู้พบเห็นพิจารณาด้วยตนเอง เดือนต่อมาเกิดสำนักชีขึ้นที่วัดเพื่อสนองคุณต่อโยมมารดาให้ได้ปฏิบัติธรรม โยมแม่พิมพ์จึงเป็นแม่ชีคนแรกของวัดหนองป่าพง และมีแม่ชีติดต่อกันมาถึงปัจจุบันเป็นจำนวนมากและทางวัดมีการแบ่งเขตสงฆ์เขต ชีไว้เรียบร้อยไม่ก้าวกายปะปนกัน
วัดหนองป่าพง ได้รับอนุญาตให้สร้างในปี 2513 ปี 2516 หลวงพ่อได้รับแต่งตั้งเป็นเจ้าอาวาสวัดหนองป่าพงและได้รับสมณศักดิ์เป็นพระ ราชาคณะที่ “ พระโพธิญาณเถร ” ปี 2519 สิ้นเงิน 5 ล้านบาท ปี 2520 ได้เดินทางไปประกาศสัจธรรมในภาคพื้นยุโรปเป็นครั้งแรกปี 2522 ได้เดินทางไปอังกฤษ อเมริกา คานาดา เพื่อประกาศสัจธรรม เป็นครั้งที่ 2 จนในที่สุด ย่างเข้าสู่วัยชราหลวงปู่ชา สุภัทโท สุขภาพร่างกายของท่านไม่แข็งแรงดังเดิม เป็นไปตามกฎแห่งไตรลักษณ์ หลวงปู่ชาถึงแก่มรณภาพอย่างสงบ เมื่อวันที่ 16 มกราคม 2535 เวลา 05.30 น. ท่านได้ละสังขารอันเป็นภาระหนักและทรมานที่อาพาธมานานไปโดยอาการอันสงบ ทุกวันนี้ วัดหนองป่าพง มีสถานที่เป็นที่เตือนใจของผู้ประสงค์จะนมัสการและรำลึกถึงหลวงปู่ชา คือ พิพิธภัณฑ์พระโพธิญาณเถระ (ชา สุภัทโท) ซึ่งเป็นพิพิธภัณฑ์ที่รวบรวมประวัติและผลงานของท่านมารวมไว้ ผนังพิพิธภัณฑ์มีภาพชีวิตของท่านปรากฏ ตลอดจนรูปปั้นขี้ผึ้งของท่านเสมือนหนึ่ง หลวงปู่ชา สุภัทโท วัดหนองป่าพง ยังมีชีวิตอยู่
ขอบพระคุณข้อมูลจากhttp://www.e4thai.com/e4e/index.php?option=com_content\u0026view=article\u0026id=253:luangpohchah105teachings\u0026catid=60:dhammacat\u0026Itemid=124
ถ้าหากมีข้อผิดพลาดประการใดต้องขอโทษขออภัยแก่ผู้รับฟังด้วย และขอน้อมรับการปรับปรุงแก้ไขทุกประการ ฟังธรรมที่ท่านสนใจhttps://www.youtube.com/user/kancha085
ความพอดีของคนเราอยู่ตรงไหน?
ท่านสามารถติดตามเรื่องเล่าธรรมะ และกดกระดิ่งไว้เพื่อไม่พลาดการรับชมคลิปธรรมะดีๆจากช่อง Bua Channel ได้ที่นี่\r
https://www.youtube.com/channel/UC1KG5bXJAQ7LqSrwjqMbXg\r
\r
An Introduction to Buddhist Practice: When a person is introduced to Buddhism for the first time, the first thing he should do is to forget all about his background of Christianity – and his Christian views and other similar views – and start from scratch.\r
The story of the Buddha begins like this. The Buddha found that he had a problem and he left home to try to find the answer to this problem. He went searching for teachers, he went to this teacher and then that teacher but he found he still had the problem. Finally he had to go off on his own to search for the solution, because he could not find anyone who knew about it. And he found the answer within himself, and he found the way to get to the state where he got the answer to his question and got free from his problem \r
\r
ติดตามฟังธรรมผ่านเพจ สำนักป่าพุทธภูมิ โพธิยาลัย\r
https://www.facebook.com/AnagarikaBhodhiyana/\r
\r
บัวชาแนล เล่าเรื่องเล่าธรรม
นอกจากการดูหัวข้อนี้แล้ว คุณยังสามารถเข้าถึงบทวิจารณ์ดีๆ อื่นๆ อีกมากมายได้ที่นี่: ดูบทความเพิ่มเติมในหมวดหมู่Wiki